ข้อสอบปรนัย เราเตอร์ (Router)
1. ข้อใดไม่ใช่อุปกรณ์ที่ใช้ในการเชื่อมโยงเครือข่าย
ก. บริดจ์ (Bridge)
ข. เราเตอร์ (Router)
ค. สวิตช์ (Switch)
ง. แลนด์ (Lan)
เฉลย ง
2. ข้อใดคืออุปกรณ์ที่ทำหน้าที่คัดแยกแพ็กเก็ต
ก. บริดจ์ (Bridge)
ข. เราเตอร์ (Router)
ค. สวิตช์แพ็กเก็ต ข้อมูล (Data Switched Packet)
ง. สวิตช์ (Switch)
เฉลย ค
3. ในอินเทอร์เน็ตมักเรียกเราเตอร์ว่าอะไร
ก. ไอพีเราเตอร์ (IP router)
ข. เราเตอร์ (Router)
ค. สวิตช์แพ็กเก็ต ข้อมูล (Data Switched Packet)
ง. สวิตช์ (Switch)
เฉลย ก
4. เราเตอร์มีลักษณะการใช้งานคล้ายกับอะไร
ก. ไอพีเราเตอร์ (IP router)
ข. เราเตอร์ (Router)
ค. สวิตช์แพ็กเก็ต ข้อมูล (Data Switched Packet)
ง. สวิตช์ (Switch)
เฉลย ง
5. Router เป็นตัวชี้ทางเชื่อมต่อระบบอินเตอร์เน็ตไปยัง
ก. Network
ข. User
ค. ISP
ง. Email
เฉลย ค
6.ข้อดีของไฟร์วอลล์ เราเตอร์คือข้อใด
ก. เพิ่มฟังก์ชันการทำงานได้ไม่จำกัด
ข. ประสิทธิภาพสูงมีจำนวนอินเตอร์เฟสมาก
ค. อาจมีความเสี่ยงจากระบบปฏิบัติการที่ใช้
ง. อาจต้องการหน่วยความจำมาก
เฉลย ข
7. เราเตอร์ (Router)
ก. เราเตอร์จะรับข้อมูลเป็นแพ็กเก็ตเข้ามาตรวจสอบแอดเดรสปลายทางจากนั้นนำมา เปรียบเทียบ กับตารางเส้นทางที่ได้รับการโปรแกรมไว้
ข. อุปกรณ์สวิตช์มีหลายแบบ หากแบ่งกลุ่มข้อมูลเป็นแพ็กเก็ตเล็ก ๆ และเรียกใหม่ว่า "เซล" (Cell)
ค .เป็นอุปกรณ์เชื่อมโยงเครือข่ายของเครือข่ายที่แยกจากกัน
ง. ถูกทุกข้อ
เฉลย ก
8. .เราเตอร์ (Router) มีประโยชน์อย่างไร
ก.สามารถนำข้อมูลอื่นมาประกอบภายในได้ก็เรียกว่า "เฟรมรีเลย์" (Frame Relay)
ข.เพื่อหาเส้นทางที่ส่งต่อ หากเส้นทาง ที่ส่งมาจากอีเทอร์เน็ต และส่งต่อออกช่องทางของ Port WAN ที่เป็นแบบจุดไปจุด
ค.อุปกรณ์เชื่อมโยง ทั้งหมดนี้รองรับมาตรฐานการเชื่อมต่อได้หลากหลายรูปแบบ เช่น จากเครือข่ายพื้นฐานเป็นอีเทอร์เน็ต
ง.มีแนวโน้มที่จะพัฒนาให้ใช้กับความเร็วของการรับส่งข้อมูลจำนวนมาก
เฉลย ข
9.อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่คัดแยกแพ็กเก็ต หรือเรียอีกอย่างว่าอะไร
ก.เอทีเอ็มสวิตช์(ATM Switch)
ข.เซลสวิตช์" (Cell Switch)
ค.เฟรมรีเลย์" (Frame Relay)
ง.สวิตช์แพ็กเก็ต ข้อมูล(Data Switched Packet)
เฉลย ง
10.เราเทอร์ทำงานบนเลเยอร์ที่เท่าไร
ก. เลเยอร์ที่1 ตามมาตรฐานของ OSI Model
ข. เลเยอร์ที่2 ตามมาตรฐานของ OSI Model
ค. เลเยอร์ที่3 ตามมาตรฐานของ OSI Model
ง. เลเยอร์ที่4 ตามมาตรฐานของ OSI Model
เฉลย ค
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น